วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558

สพฉ.บูรณาการณ์เคลื่อนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ - 9Zean - WiFiNews





เมื่อวันที่13 มี.ค. ที่ จ.เชียงใหม่นายสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ รมช.กระทรวงสาธารสุข ในฐานะประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน พร้อมด้วย นพ.อนุชาเศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.)ได้ร่วมการจัดการประชุมคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.)สัญจร ครั้งที่ 6 ประจำปี 2558 ระหว่างวันที่ 12-14 มี.ค. โดยมีการนำคณะชมการสาธิตการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินโดยอากาศยานที่กองบิน 41 ที่ใช้ลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ



นพ.อนุชาเปิดเผยว่า ในพื้นที่ภาคเหนือถือเป็นพื้นที่ต้นแบบที่มีการพัฒนาการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินทางอากาศยานรวมถึงมีการใช้วิธีลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานมากที่สุดด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็นภูเขาทำให้การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยรถพยาบาลฉุกเฉินต้องใช้เวลาหลายชั่วโมงส่งผลต่อโอกาสรอดของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจและหลอดเลือดเฉียบพลัน หรือกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วนซึ่งขั้นตอนการขอลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติจะผ่านการประเมินอาการจากแพทย์อำนวยการในพื้นที่ก่อนจากนั้นจะประสานกับศูนย์รับแจ้งเหตุ 1669 หรือ สพฉ. รอการอนุมัติใน 10 นาทีโดยการใช้วิธีลำเลียงทางอากาศยานนอกผู้ป่วยแล้วยังสามารถใช้ลำเลียงยาเวชภัณฑ์ หรือบุคลากรทางการแพทย์เพื่อเข้าไปช่วยเหลือในพื้นที่ห่างไกลได้อย่างรวดเร็วด้วย



การช่วยเหลือผู้ป่วยทางอากาศยานเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ปี 2552เป้าหมายเพื่อเพิ่มโอกาสรอดให้ผู้ป่วยฉุกเฉินโดยเฉพาะในพื้นที่ทุรกันดาร ไม่สามารถเคลื่อนย้ายด้วยพาหนะปกติ ปัจจุบันมีอากาศยานสำหรับใช้งาน 100 ลำมีจุดศูนย์กลางการลำเลียงฉุกเฉินทางอากาศยาน 6 จุด กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ประกอบด้วยภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน , ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จ.นครราชสีมา , ภาคกลางที่ กทม. , ภาคใต้ สุราษฎร์ธานี ปัตตานีที่ผ่านมาสามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้ 190 ราย



ด้านนพ.บุญฤทธิ์ คำทิพย์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน รพ.นครพิงค์ กล่าวถึงสถิติการใช้วิธีลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานว่าสำหรับภาคเหนือเริ่มนำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี2553 จนถึงขณะนี้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยจาก 100 ราย ให้รอดชีวิต 83 ราย ส่วนใหญ่เป็นการลำเลียงจากโรงพยาบาลต้นทางในจ.แม่ฮ่องสอนรองลงมาคือ น่าน และเชียงใหม่ อย่างไรก็ตามพาหนะทางอากาศยานทั้งเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ที่นำมาใช้ผู้ป่วยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพราะภาครัฐและเอกชนทำข้อตกลงร่วมกันนอกจากนี้ยังมีการพัฒนาการติดต่อสื่อสารด้วยการจัดทำไลน์กลุ่มชื่อNorth sky doctor เพื่อให้การประสานงานและสั่งการลำเลียงผู้ป่วยมีความรวดเร็วยิ่งขึ้น.




9Zean.Com – WiFiNews

ขอบคุณที่มาของข่าวโดยdailynews.co.th
เวลาโพส2015-03-26 07:14:09




สพฉ.บูรณาการณ์เคลื่อนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ - 9Zean - WiFiNews
http://www.dailynews.co.th/imagecache/670x490/cover/990225.jpeg





เมื่อวันที่13 มี.ค. ที่ จ.เชียงใหม่นายสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ รมช.กระทรวงสาธารสุข ในฐานะประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน พร้อมด้วย นพ.อนุชาเศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.)ได้ร่วมการจัดการประชุมคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.)สัญจร ครั้งที่ 6 ประจำปี 2558 ระหว่างวันที่ 12-14 มี.ค. โดยมีการนำคณะชมการสาธิตการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินโดยอากาศยานที่กองบิน 41 ที่ใช้ลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ



นพ.อนุชาเปิดเผยว่า ในพื้นที่ภาคเหนือถือเป็นพื้นที่ต้นแบบที่มีการพัฒนาการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินทางอากาศยานรวมถึงมีการใช้วิธีลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานมากที่สุดด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็นภูเขาทำให้การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยรถพยาบาลฉุกเฉินต้องใช้เวลาหลายชั่วโมงส่งผลต่อโอกาสรอดของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจและหลอดเลือดเฉียบพลัน หรือกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วนซึ่งขั้นตอนการขอลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติจะผ่านการประเมินอาการจากแพทย์อำนวยการในพื้นที่ก่อนจากนั้นจะประสานกับศูนย์รับแจ้งเหตุ 1669 หรือ สพฉ. รอการอนุมัติใน 10 นาทีโดยการใช้วิธีลำเลียงทางอากาศยานนอกผู้ป่วยแล้วยังสามารถใช้ลำเลียงยาเวชภัณฑ์ หรือบุคลากรทางการแพทย์เพื่อเข้าไปช่วยเหลือในพื้นที่ห่างไกลได้อย่างรวดเร็วด้วย



การช่วยเหลือผู้ป่วยทางอากาศยานเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ปี 2552เป้าหมายเพื่อเพิ่มโอกาสรอดให้ผู้ป่วยฉุกเฉินโดยเฉพาะในพื้นที่ทุรกันดาร ไม่สามารถเคลื่อนย้ายด้วยพาหนะปกติ ปัจจุบันมีอากาศยานสำหรับใช้งาน 100 ลำมีจุดศูนย์กลางการลำเลียงฉุกเฉินทางอากาศยาน 6 จุด กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ประกอบด้วยภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน , ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จ.นครราชสีมา , ภาคกลางที่ กทม. , ภาคใต้ สุราษฎร์ธานี ปัตตานีที่ผ่านมาสามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้ 190 ราย



ด้านนพ.บุญฤทธิ์ คำทิพย์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน รพ.นครพิงค์ กล่าวถึงสถิติการใช้วิธีลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานว่าสำหรับภาคเหนือเริ่มนำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี2553 จนถึงขณะนี้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยจาก 100 ราย ให้รอดชีวิต 83 ราย ส่วนใหญ่เป็นการลำเลียงจากโรงพยาบาลต้นทางในจ.แม่ฮ่องสอนรองลงมาคือ น่าน และเชียงใหม่ อย่างไรก็ตามพาหนะทางอากาศยานทั้งเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ที่นำมาใช้ผู้ป่วยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพราะภาครัฐและเอกชนทำข้อตกลงร่วมกันนอกจากนี้ยังมีการพัฒนาการติดต่อสื่อสารด้วยการจัดทำไลน์กลุ่มชื่อNorth sky doctor เพื่อให้การประสานงานและสั่งการลำเลียงผู้ป่วยมีความรวดเร็วยิ่งขึ้น.




9Zean.Com – WiFiNews

ขอบคุณที่มาของข่าวโดยdailynews.co.th
เวลาโพส2015-03-26 07:14:09





เมื่อวันที่13 มี.ค. ที่ จ.เชียงใหม่นายสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ รมช.กระทรวงสาธารสุข ในฐานะประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน พร้อมด้วย นพ.อนุชาเศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.)ได้ร่วมการจัดการประชุมคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.)สัญจร ครั้งที่ 6 ประจำปี 2558 ระหว่างวันที่ 12-14 มี.ค. โดยมีการนำคณะชมการสาธิตการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินโดยอากาศยานที่กองบิน 41 ที่ใช้ลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นพ.อนุชาเปิดเผยว่า ในพื้นที่ภาคเหนือถือเป็นพื้นที่ต้นแบบที่มีการพัฒนาการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินทางอากาศยานรวมถึงมีการใช้วิธีลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานมากที่สุดด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็นภูเขาทำให้การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยรถพยาบาลฉุกเฉินต้องใช้เวลาหลายชั่วโมงส่งผลต่อโอกาสรอดของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจและหลอดเลือดเฉียบพลัน หรือกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วนซึ่งขั้นตอนการขอลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติจะผ่านการประเมินอาการจากแพทย์อำนวยการในพื้นที่ก่อนจากนั้นจะประสานกับศูนย์รับแจ้งเหตุ 1669 หรือ สพฉ. รอการอนุมัติใน 10 นาทีโดยการใช้วิธีลำเลียงทางอากาศยานนอกผู้ป่วยแล้วยังสามารถใช้ลำเลียงยาเวชภัณฑ์ หรือบุคลากรทางการแพทย์เพื่อเข้าไปช่วยเหลือในพื้นที่ห่างไกลได้อย่างรวดเร็วด้วย

การช่วยเหลือผู้ป่วยทางอากาศยานเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ปี 2552เป้าหมายเพื่อเพิ่มโอกาสรอดให้ผู้ป่วยฉุกเฉินโดยเฉพาะในพื้นที่ทุรกันดาร ไม่สามารถเคลื่อนย้ายด้วยพาหนะปกติ ปัจจุบันมีอากาศยานสำหรับใช้งาน 100 ลำมีจุดศูนย์กลางการลำเลียงฉุกเฉินทางอากาศยาน 6 จุด กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ประกอบด้วยภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน , ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จ.นครราชสีมา , ภาคกลางที่ กทม. , ภาคใต้ สุราษฎร์ธานี ปัตตานีที่ผ่านมาสามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้ 190 ราย

ด้านนพ.บุญฤทธิ์ คำทิพย์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน รพ.นครพิงค์ กล่าวถึงสถิติการใช้วิธีลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานว่าสำหรับภาคเหนือเริ่มนำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี2553 จนถึงขณะนี้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยจาก 100 ราย ให้รอดชีวิต 83 ราย ส่วนใหญ่เป็นการลำเลียงจากโรงพยาบาลต้นทางในจ.แม่ฮ่องสอนรองลงมาคือ น่าน และเชียงใหม่ อย่างไรก็ตามพาหนะทางอากาศยานทั้งเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ที่นำมาใช้ผู้ป่วยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพราะภาครัฐและเอกชนทำข้อตกลงร่วมกันนอกจากนี้ยังมีการพัฒนาการติดต่อสื่อสารด้วยการจัดทำไลน์กลุ่มชื่อNorth sky doctor เพื่อให้การประสานงานและสั่งการลำเลียงผู้ป่วยมีความรวดเร็วยิ่งขึ้น.


9Zean.Com - WiFiNews

ขอบคุณที่มาของข่าวโดยdailynews.co.th
เวลาโพส2015-03-26 07:14:09

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น